นางสาวอัญ เรืองศาสตร์
แบบรายงานผลการปฏิบัติงาน
ตามข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA)
นางสาวอัญ เรืองศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒
ปีการศึกษา 2567
เว็บไซต์สำหรับเก็บผลงานประเมิน PA
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2567
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 18 ชั่วโมง/สัปดาห์ ดังนี้
รายวิชา ประวัติศาสตร์ จำนวน 12 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชา โลกยุคปัจจุบัน จำนวน 6 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมสังคมและสาธารณประโยชน์ จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
- กิจกรรมชุมนุมหนังสั้น จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 8 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 8 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 4 ชั่วโมง/สัปดาห์
ประเด็นท้าทายเรื่อง พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ในรายวิชาประวัติศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชาประวัติศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 พบว่า นักเรียนไม่ให้ความสนใจในเนื้อหา โดยมีแนวความคิดว่าวิชาประวัติศาสตร์ เป็นวิชาที่น่าเบื่อ เนื้อหาเยอะ ต้องจดจำเนื้อหาเป็นจำนวนมาก ซึ่งปัญหาเหล่านี้ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนลดลง ครูจึงจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยวิธีแบบสืบเสาะหาความรู้ เพื่อการกระตุ้นให้นักเรียนสนใจใคร่รู้ มองเห็นประเด็นปัญหาและทำการสืบค้นข้อมูลด้วยตนเอง ฝึกพัฒนาการเรียนรู้ให้ผู้เรียนคิดเป็น เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ เกิดองค์ความรู้ที่คงทน สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น
ปีการศึกษา 2567
ดำเนินการวิเคราะห์หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒ พุทธศักราช 2551 ฉบับปรับปรุง พุทธศักราช 2567 จัดทำคำอธิบายรายวิชา ประวัติศาสตร์วิเคราะห์ตัวชี้วัด ตามหลักสูตรแกนกลาง (หรือวิเคราะห์ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังในรายวิชาเพิ่มเติม) และดำเนินการจัดทำหน่วยการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้รายวิชา ประวัติศาสตร์ ที่สอดคล้องกับหลักสูตรสถานศึกษา
1.1 สร้างเเละหรือพัฒนาหลักสูตร
1.2 ออกแบบการจัดการเรียนรู้
ออกแบบหน่วยการเรียนรู้โดยการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษาท้องถิ่น และเหมาะกับผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น พัฒนาทักษะคุณลักษณะอันพึงประสงค์และสมรรถนะที่สำคัญตามหลักสูตร โดยริเริ่ม คิดค้นให้สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ผู้เรียนและท้องถิ่น โดยใช้กระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning ที่หลากหลาย
1.3 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้วยกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning โดยวิธีการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ในรายวิชาประวัติศาสตร์ เพื่อส่งเสริมผู้เรียนได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ เรียนรู้และทำงาน ร่วมกัน โดยมีการปรับประยุกต์ให้สอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียน และเพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะความเข้าใจในประวัติศาสตร์ และเจตคติที่มีต่อการศึกษาประวัติศาสตร์ของนักเรียน
ปีการศึกษา
2564
สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้สอดคล้องกับกิจกรรมการเรียนรู้ โดยมีการริเริ่ม พัฒนาให้สอดคล้องกับความแตกต่างของผู้เรียน และทำให้ผู้เรียนมีทักษะการคิดและสามารถสร้างนวัตกรรมได้ โดยสร้างเอกสารประกอบการเรียนรายวิชาประวัติศาสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ได้แก่ สื่อPowerpoint เกม และใบงาน
1.4 การสร้างและพัฒนาสื่อ นวัตกรรม
กดปุ่มหัวข้อ
สำหรับเอกสารประกอบ
1.5 การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
ริเริ่ม คิดค้นและพัฒนารูปแบบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพจริง ด้วยวิธีการที่หลากหลายเหมาะสมและสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ และนำผลการวัดและประเมินมาใช้แก้ไขปัญหาการจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง และเป็นแบบอย่างที่ดีในการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ ได้แก่ การสังเกตกิจกรรมในชั้นเรียน ประเมินการทำงานกลุ่มชิ้นงานแผนผังความคิดและแบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผู้เรียน
1.6 การศึกษา วิเคราะห์สังเคราะห์เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้
1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมและพัฒนาผู้เรียน
มีการริเริ่ม คิดค้นและพัฒนาการจัดบรรยากาศที่เหมาะสม คำนึงถึงความแตกต่างของผู้เรียนสร้างแรงบันดาลใจในการเรียน ส่งเสริมให้มีการนำเสนอความคิดเห็น สามารถเชื่อมโยงความรู้ นำเสนอเป็นผลงาน เพื่อให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าและประโยชน์ที่เกิดขึ้นจากการเรียนรู้ รวมทั้งใช้สื่อ เข้ามาช่วยการเรียนรู้และสร้างห้องเรียนให้น่าสนใจ
2.1 จัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา
มีการริเริ่ม คิดค้น และพัฒนารูปแบบการจัดทำข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนและรายวิชา
2.2 ดำเนินการตามระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
2.3 ปฏิบัติงานวิชาการและงานอื่น ๆ ของสถานศึกษา
ได้เข้าร่วมปฏิบัติงานทางวิชาการ และงาน
อื่น ๆ ของสถานศึกษา เพื่อยกระดับ
คุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครือข่ายและหรือสถานประกอบการ เพื่อร่วมกันแก้ไขปัญหาและพัฒนาผู้เรียนและเป็นแบบอย่างที่ดี โดยแจ้งผลการเรียนของผู้เรียนแก่ผู้ปกครองและแจ้งปัญหาผู้เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์ให้ผู้ปกครองทราบเพื่อแก้ปัญหาต่อไป
2.4 ประสานความร่วมมือผู้ปกครอง
ภาคีเครือข่ายและหรือสถานประกอบการ
พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
เพื่อให้มีความรู้ ความสามารถ ทักษะอบรม
หรือศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้ที่แบบ
Active Learning การใช้เทคโนโลยีเพื่อการ
ศึกษา เพื่อสร้างสื่อการเรียนรู้ สไลด์ใน
การนำเสนอ ใบงาน เกมเพื่อการจัดเรียนรู้
การใช้CANVA
3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบ
และต่อเนื่อง
3.2 มีส่วนร่วมในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ
ได้สร้างชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) ในการแก้ปัญหา มีส่วนร่วมและเป็นผู้นำในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ ในรายวิชาประวัติศาสตร์ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เพื่อแก้ไขปัญหาและสร้างนวัตกรรมเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้และเป็นแบบอย่างที่ดี
3.3 นำความรู้ความสามารถทักษะ
ที่ได้จากการพัฒนาตนเองฯ
นำผลจากการอบรมพัฒนาตนเอง การเข้าร่วมชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ (PLC) และการนิเทศการจัดการเรียนรู้ไปสร้างเป็นสื่อนวัตกรรม หรือวิธีการจัดการเรียนรู้รูปแบบอื่นเพื่อนำมาใช้ในการพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนหรือแก้ไขนักเรียนที่มีผลการเรียนรู้ไม่ผ่านเกณฑ์ที่กำหนด
ประเด็นท้าทายเรื่อง พัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยจัดกระบวนการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (Inquiry Method : 5E) ในรายวิชาประวัติศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชาประวัติศาสตร์ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 พบว่า นักเรียนไม่ให้ความสนใจในเนื้อหา โดยมีแนวความคิดว่าวิชาประวัติศาสตร์ เป็นวิชาที่น่าเบื่อ เนื้อหาเยอะ ต้องจดจำเนื้อหาเป็นจำนวนมาก ซึ่งปัญหาเหล่านี้ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนลดลง ครูจึงจัดกระบวนการเรียนรู้ด้วยวิธีแบบสืบเสาะหาความรู้ เพื่อการกระตุ้นให้นักเรียนสนใจใคร่รู้ มองเห็นประเด็นปัญหาและทำการสืบค้นข้อมูลด้วยตนเอง ฝึกพัฒนาการเรียนรู้ให้ผู้เรียนคิดเป็น เกิดการแลกเปลี่ยนความรู้ เกิดองค์ความรู้ที่คงทน สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้เพื่อให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนสูงขึ้น
วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล
1) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาประวัติศาสตร์สูงกว่าเกณฑ์ที่ กำหนด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
2) นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มีคะแนนการทดสอบหลังเรียน เรื่อง เหตุการณ์สำคัญใน สมัยใหม่-ปัจจุบัน ผ่านเกณฑ์ตามที่กำหนด ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70
เชิงปริมาณ
เชิงคุณภาพ
ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง
นางสาวอัญ เรืองศาสตร์
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
โรงเรียนบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) ๒
ขอขอบคุณคณะกรรมการการประเมินทุกท่าน